FreeWave Book
 

Illustrations, Art, Comic, and my life.

Wednesday, November 24, 2004

Tokay Gecko



I somehow got a huge obsession about Tokay Gecko..perhaps...because they look really scary.... Most of my American friends do not know this creature very well. So I decided to do a little research and here is the info.

Tokay Gecko or Gecko Gecko From Corl, J. 1999. "Gekko gecko" (On-line), Animal Diversity Web. Accessed November 23, 2004 at http://animaldiversity.ummz.umich.edu/site/accounts/information/Gekko_gecko.html.



Geographic Range
Tokay Geckoes are found from northeast India to the Indo-Australian Archipelago.

Biogeographic Regions: palearctic (native ); australian (native ).

Habitat
The Tokay Gecko lives in tropical rain forests, on cliffs and trees, and as pets amongst human habitation. They are arboreal (tree-dwelling and cliff-dwelling).

Terrestrial Biomes: rainforest.



Physical Description
Tokay Geckoes are one of the largest geckoes alive today with a length of around 35 cm. The body of a Gekko gecko is cylindrical, squat, and somewhat flattened on the upper side. The limbs are well-defined and uniformly developed. The head is large and set off from the neck, and they have large, prominent eyes with vertically-slit pupils. The eyelids of these animals are fused together and transparent. They also have remains of a rudimentary third eye on the top of their head, which is believed to coordinate their activity to light conditions.



The ears can be seen on the outside of the gecko as small holes on both sides of the head. It is possible to see straight through the head of these geckoes through their ears. Tokay Geckoes have a hearing range from about 300 Hertz to 10,000 Hertz.



They have soft, granular skin that feels velvety to the touch. The coloration of a Tokay Gecko is very important to its lifestyle. The skin is usually gray with several brownish-red to bright red spots and flecks but it has the ability to lighten or darken the coloring of its skin. They usually do so in order to blend in or to be less noticeable to other animals.



In the Gekko gecko, there are obvious male and female differences. The male is more brightly colored than the female and generally, the male is slightly larger than the female. A conspicuous difference between the sexes is the small amount of swelling at the base of the tail of the male, due to the presence of the two hemipenes. Also, the males have visible preanal and femoral pores and postanal tubercules.

Something that is very helpful to the Gekko gecko is their toes that have fine setae on them, allowing them to cling to vertical and over-hanging surfaces and move at fast speeds.



Reproduction
During breeding season, which lasts about 4-5 months, males copulate frequently with females, often grasping them with their mouths during copulation. During the breeding period, females lay eggs about every month. In order to attract a mate, a male has a call that can be heard over a wide area. This loud "to-kay" sound is repeated multiple times. The male approaches the female from the rear, and they move side to side while he holds her in place with his teeth, biting her in the neck region. The female looks for a laying- site, and when she finds the right one, she affixes the hard-shelled eggs (oval-shaped; anywhere from 3 mm to 45 mm) to a solid foundation where they are guarded by both parents until they hatch. In captivity, Tokay Geckoes are prone to eating their own eggs.

Key reproductive features: gonochoric/gonochoristic/dioecious (sexes separate).



Behavior
Tokay Geckoes are solitary creatures. They only encounter the opposite sex during the breeding season. They will defend their territory against intruders of the same species and of other species, ensuring less competition for food. If their space is violated, a fight will definitely come about. The territory is generally guarded by males but is occasionally watched by the female.

These geckoes can inflict severe bites if they are sufficiently threatened.

The nose is used for breathing and also for detecting scents. Scents are detected by the large number of sensory cells on a membrane in the nostrils. They are also detected by using the Jacobson's organ which develops similarly to the nose but separates from the nose during embryonal development and forms its own attachment to the palate. The Tokay Gecko's tongue is used to carry scent particles to the holes in the palate. As the gecko "waves" his tongue, these particles are carried to the palate and then transported to the Jacobson's organ.

They have folds of skin that prevent the animal from casting a shadow while resting on a tree. They open up the skin fold completely and this allows them to blend in with the tree bark.

An important characteristic of the Tokay Gecko is its ability to cast off its tail in defense and regenerate a new one. The part of the tail that has been cast off will continue to move violently for several minutes until it slows down and stops, thus giving the gecko fair time to escape. The tail has several sections on it where it can break off at any given moment. It takes approximately three weeks for these geckoes to completely regenerate a new tail although it is usually never as long as the original tail.

Calls of the Tokay Gecko are used for communication, finding members of the opposite sex during the breeding season, and as a means of defense (they emit a hissing or croaking noise when being attacked).

Tokay Geckoes are nocturnal creatures.

Key behaviors: motile.



Food Habits
Tokay Geckoes are insectivorous. In captivity, they usually feed on springtails, mealworms, cockroaches, crickets, grasshoppers, pink mice, and locusts.
Economic Importance for Humans: Negative

These animals have an unpleasant disposition and can inflict severe bites when handled.

Economic Importance for Humans: Positive
Tokay Geckoes eat pests such as cockroaches and locusts. They are sold as pets.

In parts of southeast Asia, Tokay Geckoes are regarded as harbingers of luck, good fortune, and fertility.

Conservation Status
There is no special status for Tokay Geckoes.



Contributors
Jaime Corl (author), University of Michigan: June, 1999.
References

Do, H.G., and G.C.G. 1997. "Geckoes." The New Encyclopedia Brittanica. Chicago: Encyclopedia Brittanica, Inc. Vol. 26 (macropaedia). p. 693.

Frank, Norman, and Erica Ramus. 1995. A COMPLETE GUIDE TO SCIENTIFIC AND COMMON NAMES OF REPTILES AND AMPHIBIANS OF THE WORLD. Pottsville (PA): NG Publishing Inc. p. 146.

Henkel, Friedrich-Wilhelm, and Wolfgang Schmidt. 1995. Geckoes. Trans. John Hackworth. Malabar (FL): Krieger Publishing Company. pp. 7-9, 12, 14, 19-23, 37, 45, 136, 153.

Schmidt, Karl P., and Robert F. Inger. 1988. Academic American Encyclopedia. Danbury: Grolier Incorporated. Vol. 9. pp. 66-67.

Wagner, Ernie. 1980. REPRODUCTIVE BIOLOGY AND DISEASES OF CAPTIVE REPTILES. Laurence (KS): Meseraull Printing, Inc. pp. 91, 115-116.

Tuesday, November 09, 2004

Yak

Yak

Not much update on my blog that's mainly because I'm super busy....not because I have nothign to post :) Anyhow, this is another 3D attempt of mine...titled "Yak"-the thai giant.



Back to work ;)

Monday, November 01, 2004

Thailand Animation and Multimedia 2005 Contest

I'm interested in 2 of the 3 contests here

หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันสื่อดิจิตอล (Digital Content) เป็นสื่อที่เข้าถึงได้กับคนทุกระดับ ทุกเพศและทุกวัย เป็นสื่อที่ดึงดูดความสนใจของคนดูหรือคนที่รับรู้ รับฟังเป็นอย่างมาก Digital content ที่ได้รับความนิยมมากอย่างหนึ่งคือ ผลงานแอนิเมชั่นและมัลติมีเดีย (Animation & Multimedia) ซึ่งเป็นผลที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์สร้างสรรค์งานศิลปะไว้ในรูปแบบหลายสื่อ รวมทั้งสื่อที่เป็นภาพเคลื่อนที่ ทั้งแบบสองมิติ (2D) และสามมิติ (3D) Digital content เป็นการสร้างสรรค์ที่ใช้จินตนาการของคนผสมกับเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ Digital content ในยุคปัจจุบัน ได้กลายเป็นส่วนสำคัญของธุรกิจเกือบทุกชนิด ตั้งแต่ธุรกิจการค้าการขาย ธุรกิจบันเทิง การศึกษา โฆษณา และอื่น ๆ

สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ซึ่งมีหน้าที่พัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ในประเทศและผลักดันเพื่อให้เกิดการส่งออกในการสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ กำหนดจัดงาน TAM 2005 (Thailand Animation & Multimedia 2005) ขึ้นในวันที่ 6 - 9 มกราคม 2548 หลังจากประสบความสำเร็จอย่างสูงในการจัดงาน TAM 2004 ซึ่งถือเป็นการจัดงานเกี่ยวกับแอนิเมชั่นเป็นครั้งแรกและได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอันมาก โดยการจัดงานในครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อที่จะช่วยส่งเสริมและผลักดันเด็ก เยาวชนและนักศึกษา และผู้สนใจทั่วไปให้หันมาสนใจงานแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียมากขึ้น และส่งเสริมผู้ประกอบการทางด้านนี้อย่างจริงจัง อันจะเป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรของประเทศต่อไป

และเพื่อเป็นการสานต่อโครงการดังกล่าวข้างต้นให้ต่อเนื่อง สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) จึงจัดให้มีการประกวดผลงานแอนิเมชั่นและมัลติมีเดีย โดยจัดแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. การประกวด Character Design
2. การประกวดการ์ตูนช่อง (Comics)
3. การประกวด Short Animation

และจัดกิจกรรมเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและสามารถพัฒนาศักยภาพจนกลายเป็นมืออาชีพได้ในอนาคต การประกวดที่จะจัดในครั้งที่สองนี้ เพื่อคัดเลือกและค้นหาเด็ก เยาวชนและผู้สนใจทั่วไปที่มีพรสวรรค์ มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการได้ฝึกฝนฝึกหัดฝีมือให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและสามารถแข่งขันในระดับสากลได้ ตามเจตนารมณ์ของ ฯพณฯ รัฐมนตรีที่ประกาศว่า “จะทำให้เมืองไทยเป็นฮอลลีวู้ดแห่งเอเชีย”

วัตถุประสงค์โครงการ
1. เพื่อเป็นการฝึกหัดฝีมือและเป็นการค้นหาผู้ที่มีพรสวรรค์ เพื่อจะได้พัฒนาเป็นนักพัฒนาด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียที่ดีต่อไปในอนาคต
2. เพื่อกระตุ้นให้เด็ก เยาวชน และบุคคลทั่วไปตื่นตัว ต่อการเรียนรู้และสนใจ งานด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดีย
3. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุน การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียให้แก่เด็ก เยาวชนและบุคคลทั่วไป
4. เพื่อให้เป็นกิจกรรมที่สอดคล้องในการพัฒนาอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียที่ให้เด็กเยาวชนและบุคคลทั่วไปเข้ามามีส่วนร่วม
5. เพื่อนำผลงานที่เข้ารอบสุดท้ายไปสร้างเป็นหนังสือการ์ตูน และทีวีแอนิเมชั่นเพื่อเผยแพร่ทางสื่อต่างๆ ซึ่งเป็นการยกระดับการแสดงผลงานประกวดให้ออกสู่ตลาดจริง
6. เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเด็ก เยาวชน และประชาชน ทางด้าน e-Education และ e-Society ตามแผนพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 2010

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เด็ก เยาวชนและบุคคลทั่วไปมีการฝึกหัดฝีมือและเป็นการค้นหาผู้ที่มีพรสวรรค์ เพื่อจะได้พัฒนาเป็นนักพัฒนาด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียที่ดีต่อไปในอนาคต
2. เด็ก เยาวชนและบุคคลทั่วไปเกิดความสนใจ เรียนรู้และเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจในอุตสาหกรรมด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียมากยิ่งขึ้น
3. เด็ก เยาวชนและบุคคลทั่วไป ได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ มีส่วนร่วมในการส่งผลงานหรือชิ้นงานด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียเข้าร่วมประกวดและพัฒนาผลงานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น
4. ทำให้เกิดการ กระตุ้น ส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาและผลักดัน ให้เกิดการตื่นตัวต่อการประกอบอาชีพด้านแอนิเมชั่นและมัลติมีเดียมากขึ้น

รายละเอียดการประกวด
แบ่งตามประเภทการประกวด ได้ 3 ประเภท ดังนี้
1. การประกวด Character Design
2. การประกวดการ์ตูนช่อง (Comics)
3. การประกวด Short Animation

1. การประกวด Character Design

ชื่อโครงการประกวด โครงการประกวด Character Design (หัวข้ออิสระเชิงสร้างสรรค์)

ลักษณะของ Character Design เป็นการออกแบบตัวละครหรือตัวการ์ตูน จำนวน 1 ตัว

กลุ่มเป้าหมาย
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) นักเรียน 2) นักศึกษา และ บุคคลทั่วไป - ผู้ผลิตผลงานที่ส่งเข้าประกวด จะต้องเป็นผู้ถือสัญชาติไทย
- ผู้ที่สนใจสามารถออกแบบ Character Design แบบสี ทั้งภาพด้านหน้าและด้านข้าง ลงบนกระดาษ A4 โดยไม่จำกัดการนำเสนอผลงาน จะเป็นภาพวาด หรือ พิมพ์สีจากเครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมบอกชื่อตัวการ์ตูน และ อธิบายแนวคิดตัวการ์ตูน ประมาณ 1 หน้า โดยไม่ลอกเลียนลิขสิทธิ์ผู้อื่นมา
- ผลงานที่ส่งเข้ามาร่วมประกวด จะถือเป็นลิขสิทธิ์ร่วมระหว่างผู้ผลิตผลงานนั้นๆ กับ สำนักงาน SIPA โดย SIPA ขอสงวนสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานดังกล่าว ตามแต่เห็นสมควร

สถานที่ส่งผลงาน
สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ชั้น 11 อาคาร 9, บมจ. ทศท คอร์ปอเรชั่น ถ.แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
โทรศัพท์ 0-2554-0400 โทรสาร 0-2554-0401

วันที่ส่งผลงาน
วันที่ 15 ตุลาคม – 20 ธันวาคม 2547

วันที่ตัดสิน
วันที่ 9 มกราคม 2548

สถานที่ตัดสินและแสดงผลงานรอบตัดสิน
งาน Thailand Animation & Multimedia 2005 (TAM 2005), จังหวัดกรุงเทพมหานคร

คณะกรรมการตัดสิน

คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากบริษัทชั้นนำด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก มัลติมีเดีย และแอนิเมชั่นของเมืองไทย และในรอบตัดสิน จะมีประชาชนที่เข้าชมผลงานร่วมให้คะแนนด้วย

การพิจารณาคะแนน แบ่งเป็น 3 หมวด คือ
- ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) 40%
- ความสวยงาม (Graphic) 30%
- ลักษณะของตัวละคร (Characteristic) 30%

รางวัล
รางวัลที่ 1 เงินสด 50,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 2 รางวัลและตัวละครที่ออกแบบมาจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ
รางวัลที่ 2 เงินสด 30,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 2 รางวัลและตัวละครที่ออกแบบมาจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ
รางวัลที่ 3 เงินสด 20,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 4 รางวัลและตัวละครที่ออกแบบมาจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ

การดำเนินการต่อเนื่อง
ผลงานที่ชนะการประกวดทั้ง 3 อันดับ จะถูกนำไปจัดโชว์ยังงานนิทรรศการที่เกี่ยว ข้องภายในประเทศ และ ตีพิมพ์ในวารสารของ SIPA

2. การประกวดการ์ตูนช่อง (COMICS)

ชื่อโครงการประกวดโครงการประกวดการ์ตูนช่อง (หัวข้ออิสระเชิงสร้างสรรค์)

ลักษณะของการ์ตูนช่องเป็นการผูกเรื่องสั้นๆ โดยใช้ตัวการ์ตูนหรือตัวละครที่สร้างขึ้นมา แล้วนำมาใส่ลงในช่องที่กำหนดไว้

กลุ่มเป้าหมาย
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ
1) นักเรียน
2) นักศึกษา และ บุคคลทั่วไป

กติกาและเงื่อนไข
- ผู้ผลิตผลงานที่ส่งเข้าประกวด จะต้องเป็นผู้ถือสัญชาติไทย
- ผู้ที่สนใจสามารถออกแบบการ์ตูนช่อง โดยไม่จำกัดการนำเสนอผลงาน ซึ่งสามารถวาดภาพเป็น ขาว-ดำ หรือ สี ในหัวข้ออิสระเชิงสร้างสรรค์ ลงบนกระดาษ A4 จำนวน 4 – 6 หน้ากระดาษ โดยสามารถดูจำนวนช่องตามตัวอย่างที่แนบมา
- ผลงานที่ส่งเข้ามาร่วมประกวด จะถือเป็นลิขสิทธิ์ร่วมระหว่างผู้ผลิตผลงานนั้นๆ กับ สำนักงาน SIPA โดย SIPA ขอสงวนสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานดังกล่าว ตามแต่เห็นสมควร

สถานที่ส่งผลงาน
สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ชั้น 11 อาคาร 9, บมจ. ทศท คอร์ปอเรชั่น ถ.แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
โทรศัพท์ 0-2554-0400 โทรสาร 0-2554-0401

วันที่ส่งผลงาน
วันที่ 15 ตุลาคม ถึง วันที่ 20 ธันวาคม 2547

วันที่ตัดสิน
วันที่ 9 มกราคม 2548

สถานที่ตัดสินและแสดงผลงานรอบตัดสิน
งาน Thailand Animation & Multimedia 2005 (TAM 2005), จังหวัดกรุงเทพมหานคร

คณะกรรมการตัดสิน
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากบริษัทชั้นนำด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก มัลติมีเดีย และแอนิเมชั่นของเมืองไทย และในรอบตัดสิน จะมีประชาชนที่เข้าชมผลงานร่วมให้คะแนนด้วย

การพิจารณาคะแนนแบ่งเป็น 3 หมวด คือ
- ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) 30%
- รูปแบบความต่อเนื่อง และ สวยงาม (Continuity & Graphic) 30%
- บทเนื้อหา (Story Concept) 40%

รางวัล
รางวัลที่ 1 เงินสด 50,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ จำนวน 2 รางวัลและผลงานจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ
รางวัลที่ 2 เงินสด 30,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ จำนวน 4 รางวัลและผลงานจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ
รางวัลที่ 3 เงินสด 20,000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ จำนวน 4 รางวัลและผลงานจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ

การดำเนินการต่อเนื่อง
ผลงานที่ชนะการประกวดทั้ง 3 อันดับ จะถูกนำไปจัดแสดงภายในงานนิทรรศการที่เกี่ยวข้องในประเทศและตีพิมพ์ในวารสารของ SIPA

3. การประกวด Short Animation

ชื่อโครงการประกวด โครงการประกวด Short Animation ในหัวข้ออิสระเชิงสร้างสรรค์

ลักษณะของ Short Animation
เป็นการสร้างภาพการ์ตูนเคลื่อนไหวชุดสั้นๆ แบบจบในตอน โดยมีความยาวไม่เกิน 2 นาที

กลุ่มเป้าหมาย
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 1) นักศึกษา 2) บุคคลทั่วไป หรือ ระดับอาชีพ

กติกาและเงื่อนไข
- ผู้ผลิตผลงานที่ส่งเข้าประกวด จะต้องเป็นผู้ถือสัญชาติไทย
- ผู้ที่สนใจสามารถออกแบบงานภาพเคลื่อนไหว (Animation) ซึ่งสามารถใช้เทคนิคได้อิสระ ในหัวข้ออิสระเชิงสร้างสรรค์ มีความยาวของเนื้องานประมาณ 2 นาที แล้วส่งผลงานในรูปแบบของแผ่น CD (MPEG1, MPEG2, or MPEG4) / VCD / DVD Resolution (PAL or NTSC Standard) พร้อมคำอธิบายไม่เกิน 1 หน้ากระดาษ A4
- ผลงานที่ส่งเข้ามาร่วมประกวด จะถือเป็นลิขสิทธิ์ร่วมระหว่างผู้ผลิตผลงานนั้นๆ กับ สำนักงาน SIPA โดย SIPA ขอสงวนสิทธิ์ในการเผยแพร่ผลงานดังกล่าว ตามแต่เห็นสมควร

สถานที่ส่งผลงาน
สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ชั้น 11 อาคาร 9, บมจ. ทศท คอร์ปอเรชั่น ถ.แจ้งวัฒนะ กรุงเทพมหานคร
โทรศัพท์ 0-2554-0400 โทรสาร 0-2554-0401

วันที่ส่งผลงาน
วันที่ 15 ตุลาคม ถึง วันที่ 20 ธันวาคม 2547

วันที่ตัดสิน
วันที่ 9 มกราคม 2548

สถานที่ตัดสินและแสดงผลงาน
งาน Thailand Animation & Multimedia 2005 (TAM 2005), จังหวัดกรุงเทพมหานคร

คณะกรรมการตัดสิน
คณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากบริษัทชั้นนำด้านคอมพิวเตอร์กราฟิก มัลติมีเดีย และแอนิเมชั่นของเมืองไทย

การพิจารณาคะแนน แบ่งเป็น 5 หมวด คือ
1) บทเนื้อหา (Story Concept) 20%
2) การเล่าเรื่อง (Story Telling) 20%
3) ความคิดสร้างสรรค์ (Creativity) 20%
3) ความสวยงาม (Graphic) 20%
5) ความสมบูรณ์ของภาพและเสียง 20%

รางวัลของนักศึกษา
รางวัลที่ 1 เงินสด 50,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 1 รางวัล
รางวัลที่ 2 เงินสด 30,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 2 รางวัล
รางวัลที่ 3 เงินสด 20,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 4 รางวัล
หมายเหตุ ผลงานที่ได้รับรางวัลจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ

รางวัลของบุคคลทั่วไป หรือ ระดับอาชีพ
รางวัลที่ 1 เงินสด 75000 บาท พร้อมโล่เกียรติยศ จำนวน 1 รางวัล
รางวัลที่ 2 เงินสด 45,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 2 รางวัล
รางวัลที่ 3 เงินสด 30,000 บาท พร้อมโล่ห์เกียรติยศ จำนวน 4 รางวัล
หมายเหตุ ผลงานที่ได้รับรางวัลจะได้รับการนำเสนอในสื่อต่างๆ

การดำเนินการต่อเนื่อง
ผลงานที่ชนะการประกวดทั้ง 3 อันดับ จะถูกนำไปจัดแสดงภายในงานนิทรรศการที่เกี่ยวข้องในประเทศและต่างประเทศ